MEDIA LITERACY การรู้เท่าทันสื่อและปัญหาบนโลกไซเบอร์

แบบฝึกหัดประกอบรายวิชาปัญหาสังคมไทย ส30206 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาษา: Thai
ชื่อวิชา: เทคโนโลยี > คอมพิวเตอร์
ระดับชั้น: Thailand Thailand > มัธยมศึกษา
Age: 18 - 18

MEDIA LITERACY การรู้เท่าทันสื่อและปัญหาบนโลกไซเบอร์

แบบฝึกหัดประกอบรายวิชาปัญหาสังคมไทย ส30206 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ชื่อ-นามสกุล

ชั้น

“การรู้เท่าทันสื่อ” หมายรวมถึงทักษะใดของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในฐานะที่เป็นทั้งผู้รับและส่งต่อข้อมูลบนโลกไซเบอร์ (เลือก 2 ข้อ)

ระบุความหมายของ “ข่าวลวง (Misinformation) ” และ “ข่าวหลอก” (Disinformation)

จากภาพดังกล่าว นักเรียนคิดว่า ข้อมูลลักษณะนี้ จะถูกเขียนขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ใด

จากข้อมูลเรื่องมะนาวโซดารักษามะเร็ง นักเรียนคิดว่า ข้อมูลดังกล่าวถูกเผยแพร่ที่ใด ( เผยแพร่ในเว็บไซต์ข่าวที่น่าเชื่อถือ, ถูกส่งกันต่อ ๆ มาในอีเมล, แชร์ต่อกันผ่านเฟซบุ๊ค, etc )

ข้อมูลมะนาวโซดารักษามะเร็งดังกล่าว มีการสอดแทรกมุมมองใดของผู้เขียนไว้บ้าง (ไม่จำกัดคำตอบ)

Check-List ชีวิตประจำวันของฉัน ได้ทำสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้หรือเปล่านะ?

เช็คอินทันทีเมื่อไปยังสถานที่ต่าง ๆ

ตั้งรหัสผ่านมือถือหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เป็นตัวเลขหรือตัวอักษรที่เกี่ยวข้องกับชื่อหรือวันเดือนปีเกิด

โพสต์รูปหรือข้อความลงในโซเชียลมีเดียทุกครั้ง โดยเฉพาะเมื่อมีอารมณ์โกรธหรือเสียใจ

เปิด Public สื่อโซเชียลมีเดียของตนเอง

ตั้งรหัสผ่านสองชั้นในการเข้าระบบอีเมลเพื่อป้องกันการถูกแฮ็คข้อมูล

มีรูปภาพในโซเชียลมีเดียที่แสดงข้อมูลบนบัตรประจำตัวประชาชนหรือบัตรนักเรียน

การเชื่อมต่อ Wifi สาธารณะที่ไม่มีข้อมูลกำกับเรื่องความปลอดภัย

กดไลก์หรือแชร์ข้อมูลทันทีโดยไม่ได้ตรวจสอบ

จาก Check-List ข้างต้น พฤติกรรมใดของฉันที่สุ่มเสี่ยงต่อการถูกระรานทางไซเบอร์มากที่สุด เพราะอะไร?

ความหมายของ Clickbait

การดักรับข้อมูล หมายถึงอะไร และมีโทษปรับหรือจำคุกเป็นจำนวนเท่าใด